ของแข็งที่อยู่ในรูปผลึกมีลักษณะที่สำคัญคือมีการจัดเรียงอนุภาคภายในอย่างมีระเบียบในสามมิติ
แต่ละอนุภาคยึดเหนี่ยวด้วยแรงชนิดต่าง ๆ มีโครงสร้างทางเรขาคณิตที่แน่นอน
ของแข็งบริสุทธิ์มีจุดหลอมเหลวที่ชัดเจนและคงที่
นั่นคือเมื่ออุณหภูมิถึงจุดหลอมเหลวสารประเภทนี้จะเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลวทันที อ่านต่อ
วันเสาร์ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2558
บทที่ 5 สมบัติของของเหลว
สมบัติของของเหลว
1. ของเหลวมีปริมาตรคงที่ เนื่องจากโมเลกุลของของเหลวอยู่เป็นกลุ่ม ๆ อย่างไม่เป็นระเบียบ
โดยมีระยะห่างระหว่างกลุ่มเล็กน้อยและของเหลวมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมากกว่าแก๊ส อ่านต่อ
1. ของเหลวมีปริมาตรคงที่ เนื่องจากโมเลกุลของของเหลวอยู่เป็นกลุ่ม ๆ อย่างไม่เป็นระเบียบ
โดยมีระยะห่างระหว่างกลุ่มเล็กน้อยและของเหลวมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลมากกว่าแก๊ส อ่านต่อ
บทที่5 สมบัติของแก๊ส
1. สมบัติทั่วไปของแก๊ส แก๊สทั่วไปจะมีสมบัติ ดังนี้
1.
แก๊สมีรูปร่างและปริมาตรไม่แน่นอน เปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ
บรรจุในภาชนะใดก็จะมีรูปร่างและปริมาตรตามภาชนะนั้น เพราะแก๊สมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยมาก จึงทำให้อนุภาคของแก๊ส อ่านต่อ
บทที่5 สมบัติของของแข็ง
1. ปริมาตรคงที่ไม่ขึ้นอยู่กับขนาดภาชนะที่บรรจุ
2. มีรูปร่างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามรูปร่างของภาชนะ
3. มีอนุภาคอยู่ชิดติดกันอย่างมีระเบียบ
4. สามารถระเหิดได้ อ่านต่อ
2. มีรูปร่างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามรูปร่างของภาชนะ
3. มีอนุภาคอยู่ชิดติดกันอย่างมีระเบียบ
4. สามารถระเหิดได้ อ่านต่อ
บทที่4 การคำนวณปริมาณสารจากสมการเคมี
การเกิดปฏิกิริยาเคมีต่าง ๆ เราเขียนแสดงได้ด้วยสมการเคมี
สิ่งที่แสดงอยู่ในสมการเคมีจะประกอบด้วยสารเคมีที่เกี่ยวข้องกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีนั้น
ๆ รวมทั้งภาวะต่าง ๆ
ของการเกิดปฏิกิริยาด้วย สมการเคมีจะช่วยให้เราคิดคำนวณค่าต่าง ๆ ของการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น เช่น มวลหรือน้ำหนักของสารเคมีที่ถูกใช้ไป หรือที่เกิดขึ้นใหม่ อ่านต่อ
ของการเกิดปฏิกิริยาด้วย สมการเคมีจะช่วยให้เราคิดคำนวณค่าต่าง ๆ ของการเกิดปฏิกิริยาเคมีที่เกิดขึ้น เช่น มวลหรือน้ำหนักของสารเคมีที่ถูกใช้ไป หรือที่เกิดขึ้นใหม่ อ่านต่อ
บทที่4 สมการเคมี
สมการเคมีเป็นสัญลักษณ์ที่แสดงการเกิดปฏิกิริยาเคมีระหว่างสารตั้งต้น
(อาจเป็นปฏิกิริยาระหว่างโมเลกุล อะตอม หรือไอออนก็ได้) เพื่อเกิดเป็นผลิตภัณฑ์
โดยเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ และสูตรโมเลกุลที่เป็นตัวแทนของธาตุที่อยู่ในสารประกอบ อ่านต่อ
บทที่ 4 สารละลาย
สารละลาย (solution) หมายถึง
สารเนื้อเดียวที่ไม่บริสุทธิ์ เกิดจากสารตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไปมารวมกัน สารละลายแบ่งส่วนประกอบได้ 2 ส่วนคือ
1. ตัวทำละลาย (solvent) หมายถึง สารที่มีความสามารถ ในการทำให้สารต่างๆ ละลายได้
โดยไม่ทำปฏิกิริยาเคมีกับสารนั้น
2. ตัวละลาย (solute) หมายถึง สารที่ถูกตัวทำละลายละลายให้กระจายออกไปทั่วในตัวทำละลายโดยไม่ทำปฏิกิริยาเคมีต่อกัน อ่านต่อ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)